คลื่นลูกที่ 5 ปราชญสังคม : สังคมไทยที่พึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21

คลื่นลูกที่ 5 ปราชญสังคม : สังคมไทยที่พึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21
สวัสดีครับ เพื่อนๆ วันนี้ผมก็ขออนุญาตมา Review หนังสือให้เพื่อนๆ อีกเหมือนเคยน่ะครับ วันนี้ก็ เป็นหนังสือของ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ หรือ ดร แดน ของเราอีกเหมือนเคยน่ะครับ เป็นหนังสือที่ชื่อว่า
ก้าวกระโดดจากสังคมข้อมูลข่าวสาร สู่สังคมของคนใช้ สมอง หนังสือเล่นนี้ได้นำเสนอแนวความคิดการสร้าง ปราชญสังคม หรือสังคมแห่งผู้มีปัญญา สังคมโลกกำลังเคลื่อนสู่สังคมแห่งความรู้ในคลื่นลูกที่สี่ จนพาไปสู่สังคมแห่งปัญญาของคลื่นลูกที่ห้า ในศตวรรษที่ 21 ที่จะมาถึงนี้ สังคมใดสามารถพาตนสู่การเป็นปราชญสังคมได้สำเร็จ สังคมนั้นจะอยู่ต้นแถวของโลกในศตวรรษหน้า ก้าวกระโดดจากสังคมข้อมูลข่าวสาร สู่ สังคมของคนใช้ สมอง หนังสือเล่นนี้ได้นำเสนอ แนวความคิดการสร้าง ปราช ญสังคม หรือสังคมแห่งผู้มีปัญญา สังคมโลกกำลัง เคลื่อนสู่สังคมแห่งความรู้ ในคลื่นลูกที่สี่ จนพา ไปสู่สังคมแห่งปัญญาของคลื่นลูกที่ห้า ในศตวรรษ ที่ 21 ที่จะมาถึงนี้ สังคม ใดสามารถพาตนสู่การเป็นปราชญสังคมได้ สำเร็จ สังคม นั้นจะอยู่ต้นแถวของโลกในศตวรรษหน้า
ให้เนื้อหาที่ สำคัญตั้งแต่การวางรากฐานความเข้าใจเกี่ยวกับ ปรัชญาการมองโลกของมนุษย์ ความสำคัญของความคิดและปัญญา และได้นำเสนอลักษณะของเมธีในศตวรรษที่ 21 ทั้งในส่วนของ "ประชาเมธี" และ "ปราชญาธิบดี" จากนั้นได้นำเสนอแนวคิดการสร้างปราชญสังคมผ่านการปฏิรูปประเทศไทยอย่างครบ วงจร โดยเน้นการวางรากฐานระบบการศึกษาใหม่ พร้อมๆ กับการปรับกระบวนทัศน์ทางสังคมด้านต่างๆ ให้สามารถนำสังคมสู่ศตวรรษแห่งการรังสรรค์ทางปัญญาต่อไป
หากคลื่อ นลูกที่ 3 ของ Alvin Toffler คือ การปฏิวัติข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ โดยมีเทคโนโลยีด้านสารสนเทศและการสื่อสารเป็นหัวขบวนแล้วอะไรคือคลื่นลูกที่ สี่ ? ผู้เขียนตั้งข้อสังเกตดังนี้
1.ช่วงระหว่างยุคก่อนประวัติ ศาสตร์กับคลื่นลูกที่หนึ่งใช้วเวลาหลายหมื่นปีและจากคลื่นลูกที่หนึ่งมา คลื่นลูกที่สองใช้เวลาประมาณ 5 พันปีแต่ระยะห่าง ระหว่างคลื่นลูกที่ 2 กับคลื่นลูกที่ 3 กลับใช้เวลาเพียงสองร้อยกว่าปี
2.คลื่น แต่ละลูก เชี่ยมโยงกันอย่างเป็นระบบ ยกตัวอย่างทักษะการล่าสัตว์และการเก็บผักผลไม้ตามป่าทำให้มนุษย์มีองค์ความ รู้การเกษตร (คลื่อนลูกที่หนึ่ง) และเมื่อผลผลิตการเกษตรมีมากขึ้นอุตสาหกรรมแปรรูปจึงเกิดขึ้น (คลื่นลูกที่สอง)
เมื่อเกิดความ หลากหลายในรูปแบบของตัวผลิตภัณฑ์ มนุษย์จึงมีความจำเป็นที่ต้องบริหารจัดการข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์นั้น มนุษย์จึงมีความจำเป็นที่ต้องบริหารจัดการข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์นั้น (คลื่นลูกที่สาม) และเมื่อข้อมูลข่าวสารถูกเผยแพร่สู่สายตาของสารธารณะอย่างต่อเนื่องและเป็น ระบบ สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นคือ การแตกแขนงของปัญญา ที่เกิดขึ้นในทุกส่วนของภูมิภาค
Maynard และ Mehrtens ได้ตั้งข้อสังเกตถึงปรากฏการณ์ทางสังคม ที่
กำลังเกิดขึ้นในกลุ่ม ประเทศที่หนึ่งว่าอาจเป็นส่วนหนึ่งของคลื่นลูกที่สี่เช่น
1.การยก เลิกเทคโนโลยีต่างๆ ในภาคอุตสาหกรรมอันเป็นผลพวงจากคลื่นลูกที่สองและคลื่นลูกที่สาม
2.การ เสื่อมถอยของสังคมมนุษย์อันเนื่องมาจากพัฒนาเทคโนโลยีที่ปราศจากศีลธรรม
3.การ ติดต่อสื่อสารที่ไร้พรมแดน
4.ปรากฏ การสังคมใหม่ในโลกของระบบคอมพิวเตอร์ เสมือนจริง
5.การกระจายตัวของ ข้อมูลข่าวสารแบบไร้พรมแดน
6.การนำเอา แนววามคิดในเชิงปรัชญากลับมาเป็นส่วนหนึ่งของวิชาบังคับในสถานศึกษา
7.การ อุบัติขึ้นของความคิดที่หลากหลาย
8.ความต้องการองค์กรแห่งการเรียนรู้ เพิ่มมากขึ้น
9.การลิดรอนอำนาจสูลสุดในการปกครองประเทศโดยกระแสท้องถิ่น นิยม

คลื่นลูกที่ 5 ปราชญสังคม : สังคมไทยที่พึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21
สวัสดีครับ เพื่อนๆ วันนี้ผมก็ขออนุญาตมา Review หนังสือให้เพื่อนๆ อีกเหมือนเคยน่ะครับ วันนี้ก็ เป็นหนังสือของ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ หรือ ดร แดน ของเราอีกเหมือนเคยน่ะครับ เป็นหนังสือที่ชื่อว่า
ก้าวกระโดดจากสังคมข้อมูลข่าวสาร สู่สังคมของคนใช้ สมอง หนังสือเล่นนี้ได้นำเสนอแนวความคิดการสร้าง ปราชญสังคม หรือสังคมแห่งผู้มีปัญญา สังคมโลกกำลังเคลื่อนสู่สังคมแห่งความรู้ในคลื่นลูกที่สี่ จนพาไปสู่สังคมแห่งปัญญาของคลื่นลูกที่ห้า ในศตวรรษที่ 21 ที่จะมาถึงนี้ สังคมใดสามารถพาตนสู่การเป็นปราชญสังคมได้สำเร็จ สังคมนั้นจะอยู่ต้นแถวของโลกในศตวรรษหน้า ก้าวกระโดดจากสังคมข้อมูลข่าวสาร สู่ สังคมของคนใช้ สมอง หนังสือเล่นนี้ได้นำเสนอ แนวความคิดการสร้าง ปราช ญสังคม หรือสังคมแห่งผู้มีปัญญา สังคมโลกกำลัง เคลื่อนสู่สังคมแห่งความรู้ ในคลื่นลูกที่สี่ จนพา ไปสู่สังคมแห่งปัญญาของคลื่นลูกที่ห้า ในศตวรรษ ที่ 21 ที่จะมาถึงนี้ สังคม ใดสามารถพาตนสู่การเป็นปราชญสังคมได้ สำเร็จ สังคม นั้นจะอยู่ต้นแถวของโลกในศตวรรษหน้า
ให้เนื้อหาที่ สำคัญตั้งแต่การวางรากฐานความเข้าใจเกี่ยวกับ ปรัชญาการมองโลกของมนุษย์ ความสำคัญของความคิดและปัญญา และได้นำเสนอลักษณะของเมธีในศตวรรษที่ 21 ทั้งในส่วนของ "ประชาเมธี" และ "ปราชญาธิบดี" จากนั้นได้นำเสนอแนวคิดการสร้างปราชญสังคมผ่านการปฏิรูปประเทศไทยอย่างครบ วงจร โดยเน้นการวางรากฐานระบบการศึกษาใหม่ พร้อมๆ กับการปรับกระบวนทัศน์ทางสังคมด้านต่างๆ ให้สามารถนำสังคมสู่ศตวรรษแห่งการรังสรรค์ทางปัญญาต่อไป
หากคลื่อ นลูกที่ 3 ของ Alvin Toffler คือ การปฏิวัติข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ โดยมีเทคโนโลยีด้านสารสนเทศและการสื่อสารเป็นหัวขบวนแล้วอะไรคือคลื่นลูกที่ สี่ ? ผู้เขียนตั้งข้อสังเกตดังนี้
1.ช่วงระหว่างยุคก่อนประวัติ ศาสตร์กับคลื่นลูกที่หนึ่งใช้วเวลาหลายหมื่นปีและจากคลื่นลูกที่หนึ่งมา คลื่นลูกที่สองใช้เวลาประมาณ 5 พันปีแต่ระยะห่าง ระหว่างคลื่นลูกที่ 2 กับคลื่นลูกที่ 3 กลับใช้เวลาเพียงสองร้อยกว่าปี
2.คลื่น แต่ละลูก เชี่ยมโยงกันอย่างเป็นระบบ ยกตัวอย่างทักษะการล่าสัตว์และการเก็บผักผลไม้ตามป่าทำให้มนุษย์มีองค์ความ รู้การเกษตร (คลื่อนลูกที่หนึ่ง) และเมื่อผลผลิตการเกษตรมีมากขึ้นอุตสาหกรรมแปรรูปจึงเกิดขึ้น (คลื่นลูกที่สอง)
เมื่อเกิดความ หลากหลายในรูปแบบของตัวผลิตภัณฑ์ มนุษย์จึงมีความจำเป็นที่ต้องบริหารจัดการข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์นั้น มนุษย์จึงมีความจำเป็นที่ต้องบริหารจัดการข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์นั้น (คลื่นลูกที่สาม) และเมื่อข้อมูลข่าวสารถูกเผยแพร่สู่สายตาของสารธารณะอย่างต่อเนื่องและเป็น ระบบ สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นคือ การแตกแขนงของปัญญา ที่เกิดขึ้นในทุกส่วนของภูมิภาค
Maynard และ Mehrtens ได้ตั้งข้อสังเกตถึงปรากฏการณ์ทางสังคม ที่
กำลังเกิดขึ้นในกลุ่ม ประเทศที่หนึ่งว่าอาจเป็นส่วนหนึ่งของคลื่นลูกที่สี่เช่น
1.การยก เลิกเทคโนโลยีต่างๆ ในภาคอุตสาหกรรมอันเป็นผลพวงจากคลื่นลูกที่สองและคลื่นลูกที่สาม
2.การ เสื่อมถอยของสังคมมนุษย์อันเนื่องมาจากพัฒนาเทคโนโลยีที่ปราศจากศีลธรรม
3.การ ติดต่อสื่อสารที่ไร้พรมแดน
4.ปรากฏ การสังคมใหม่ในโลกของระบบคอมพิวเตอร์ เสมือนจริง
5.การกระจายตัวของ ข้อมูลข่าวสารแบบไร้พรมแดน
6.การนำเอา แนววามคิดในเชิงปรัชญากลับมาเป็นส่วนหนึ่งของวิชาบังคับในสถานศึกษา
7.การ อุบัติขึ้นของความคิดที่หลากหลาย
8.ความต้องการองค์กรแห่งการเรียนรู้ เพิ่มมากขึ้น
9.การลิดรอนอำนาจสูลสุดในการปกครองประเทศโดยกระแสท้องถิ่น นิยม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น